วันพฤหัสบดีที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2561

แบบฝึกหัดบทที่ 5

แบบฝึกหัดบท
1. จงอธิบายความหมายของอินเทอร์เน็ต
ตอบ  อินเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Networks) ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึงกลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เชื่อมต่อ สื่อสารด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครือข่ายขึ้นไปที่เชื่อมต่อกัน จะเรียกว่า Internetwork หรือ Internet





 2. จงอธิบายการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Direct Internet Access
ตอบ 1. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยตรง (Direct Internet Access) การเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยตรง ผู้ใช้จะต้องมีคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่เชื่อมต่อกับ โครงข่ายหลักหรือแบ็กโบน (Backbone) โดยต้องมีอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่เป็นเกตเวย์ (Gateway) ในการเชื่อมต่อ ซึ่งได้แก่เราเตอร์ (Router) โดยปกติแล้วการเชื่อมต่อในลักษณะนี้มักเป็น องค์การของรัฐ สถานบันการศึกษาที่อนุญาตให้หน่วยงานอื่นใช้เครือข่าวร่วมกัน


 3. รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ  การจำแนกรูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จะจำแนกได้ตามลักษณะของกิจกรรมระหว่างบุคคลองค์กร จะจำแนกได้ 6 ประเภท ดังนี้
1.ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business) หรือ B to B
   ธุรกิจกับธุรกิจเป็นการให้บริการกับลูกค้าที่เป็นองค์ทางธุรกิจเช่นเดียวกัน เช่น ผู้ผลิตกับผู้ผลิต ผู้ผลิตกับผู้ค้าส่ง ผู้ผลิตกับผู้นำเข้า ผู้ผลิตกัผู้ส่งออก เป็นต้น
2.ธุรกิจกับลูกค้า (Business to Customer) หรือ B to C
   ธุรกิจกับลูกค้าเป็นรูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ดำเนินการซื้อขายสินค้าที่มุ่งเน้นการให้บริการระหว่างธุรกิจกับลูกค้าทั่วไป จึงสามารถซื้อสินค้าไท้งในระบบการขายส่งและการขายปลีกได้
3.ธุรกิจกับภาครัฐบาล (Business to Goverment) 
   ธุรกิจกับภาครัฐบาลเป็นการทำธุรกิจกรรมทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์กรธุรกิจกับภาครัฐบาล ได้แก่ การประมูลออนไลน์ และการจัดซื้อจัดจ้าง และการจดทะเบียนการค้า และการนำสินค้าเข้าออนไลน์ 
4.ลูกค้ากับลูกค้า (Customer to Customer) หรือ C to c
   ลูกค้ากับลูกค้าเป็นรูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กระทำการซื้อขายสินค้าระหว่างผูบริโภคไปสู่ผู้บริโภค เป็นการกระทำผ่านทางเว็บไซต์โดยใช้วิธีการฝากสินค้าของตนเองไว้ในเว็บไซต์ที่เป็นสื่อกลางเหมือนกับฝากขายสินค้าไว้กับร้านค้าของคนอื่น
5.ภาครัฐบาลกับประชาชน (Government to Customer) หรือ G to C
   ภาครัฐบาลกับประชาชนดารดำเนินการในรูปแบบนี้ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อการค้าระหว่างกลุ่มคนหรือองค์กร แต่เป็นการเปิดบริการของภาครัฐบาลให้แก่ประชาชน 
6.ธุรกิจกับพนักงาน (Business to Employee) หรือ B to E
   ธุรกิจกับพนังงานเป็นรูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในองค์กรที่ได้นำระบบเทคโนโลยีอินทราเน็ต (Intranet) มาใช้สำหรับการดำเนินการทางธุรกิจ โดยไม่ได้หวังผลในรูปแบบของกำไรทางการค้า



4. จงอธิบายขั้นตอนกระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 
ตอบ  พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือการท าธุรกรรมทุกรูปแบบ (การซื้อขายสินค้า บริการ การช าระเงิน การโฆษณา และการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ) ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โทรทัศน์ และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 





5. จงหาเว็บไซต์ขายของออนไลน์ มา 5 เว็บไซต
ตอบ  1. lnwshop.com
ไม่มีค่าใช้จ่าย ฟรีตลอดชีพ ไม่จำกัดจำนวนสินค้า & พื้นที่ มีระบบหลังร้ายด้วยการจัดการหลังร้านขั้นเทพ และยังออกแบบรองรับการอแสดงผลบนจอมือถือ (Responsive Design)
ฟรี ไม่มีค่าบริการรายปี รองรับ Stock สินค้าพร้อมกับพื้นที่เว็บไซต์ 100 MB.  และมีตะกร้าสินค้ารายงานการสั่งซื้อสินค้า  สะดวกด้วยการสมัครสมาชิกเว็บไซต์/Log in ผ่าน Facebook และเว็บไซต์เปิดใช้งานได้ทุกจอ รองรับมือถือ (Responsive Design)
เว็บไซต์ตลาด.com เปิดมายาวนานกว่า 17 ปี เปิดร้านค้าออนไลน์ฟรี และครอบคลุมการชำระเงินของลูกค้าแบบ 360 องศา เช่น บัตรเครดิต,บัตรเดบิต,ตู้ ATM,7-11 ฯลฯ
4. weloveshopping.comเปิดร้านค้าออนไลน์ฟรี ไม่มีค่าบริการรายเดือน ลงสินค้าได้ไม่อั้น และออกแบบระบบรองรับเรื่อง SEO  พร้อมเรื่องการชำระเงินหลายช่องทาง อำนวยความสะดวกแก่ผู้ซื้อ
5. shopup.comเว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์ฟรี และสามารถปรับแต่งเองได้ หรือมีแพ็คเก็ตให้เลือก(จ่ายตัง) สำหรับแพ็คเก็ตฟรีสามารถลงสินค้าได้ไม่จำกัด พื้นที่ไม่จำกัด และมีธีมรูปแบบเว็บไซต์ร้านค้าให้เลือกมากกว่า 300 แบบ กรณีที่ต้องการแบ่งหมวดหมู่สินค้าจะต้องสมัครแพ็คเก็ต




วันพุธที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2561

สรุปบทที่ 5 ินเทอร์เน็ตและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

บทที่ 5
 อินเทอร์เน็ตและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์


อินเทอร์เน็ต(Internet)




อินเทอร์เน็ต หมายถึง กลุ่มของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน และอนุญาตให้มีการเข้าถึงสารสนเทศและการบริการในรูปแบบของสาธารณะ

ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นจากโครงการอาร์พาเน็ต ที่อยู่ในความควบคุมของอาร์พาซึ่งเป็นหน่วยงานย่อยในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา โดยได้สนับสนุนทุนให้แก่มหาวิทยาลัยและบริษัทเอกชนเพื่อทำวิจัยและพัฒนาการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย 4 แห่ง เข้าด้วยกัน และต่อมาภายหลังได้มีการพัฒนาและเปลี่ยนไปใช้เครือข่ายที่ใหญ่ขึ้น เรียกว่าเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ที่ใช้ในปัจจุบัน

อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเริ่มต้นจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียได้ติดต่อขอใช้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น โดยใช้สายโทรศัพท์ในการเชื่อมโยง ต่อมาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดตั้งเครือข่ายยูยู
เน็ต และมีอีกหลายสถาบันศึกษาเข้ามาขอเชื่อมต่อกับเครือข่าย และเรียกเครือข่ายว่า ไทยเน็ต


การแทนชื่อที่อยู่ของอินเทอร์เน็ต (Internet Address) เครื่องคอมพิวเตอร์จำเป็นที่ต้องมีหมายเลขประจำตัว เรียกว่า หมายเลขไอพี ซึ่งประกอบด้วยชุดของตัวเลข 4 ชุด ขนาด 8 บิต เนื่องจากหมายเลขไอพีนั้นจดจำยาก ดังนั้นจึงได้มีการกำหนดชื่อเพื่อใช้แทนหมายเลขไอพี เรียกว่า ระบบชื่อโดเมน

การเชื่อมต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่อเข้าระบบอินเทอร์เน็ต 2 วิธีการหลัก คือ การเชื่อมต่อโดยตรง และการเชื่อมต่อโดยผ่านโทรศัพท์และโมเด็ม
1. การเชื่อมต่อโดยตรงกับหน่วยงานที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ใช้จะต้องมีคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่เชื่อมต่อกับโครงข่ายหลักหรือแบ็กโบน เป็นการเชื่อมต่อแบบตลอดเวลา ข้อดีก็คือ การรับ-ส่งข้อมูลจะสามารถทำได้โดยตรง รับ-ส่งข้อมูลได้เร็วและมีความน่าเชื่อถือ ส่วนข้อเสียคือ ค่าใช้จ่ายสูง
2. การเชื่อมต่อโดยผ่านโทรศัพท์และโมเด็ม
เป็นการเชื่อมต่อโดยใช้สายโทรศัพท์ โดยจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ติดต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เครือข่ายโดยใช้อุปกรณ์แปลงสัญญาณที่เรียกว่า โมเด็ม ข้อดีคือ ค่าใช้จ่ายจะต่ำกว่าการเชื่อมต่อโดยตรง เนื่องจากมีการเฉลี่ยค่าใช้จ่ายในการเช่าคู่สายโทรศัพท์ไปยังต่างประเทศ ส่วนข้อเสียคือ การส่งข้อมูลจะช้ากว่าโดยตรง

โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ (Web Browser) เรียกสั้นๆว่า เบราเซอร์ คือโปรแกรมที่ใช้แสดงข้อมูลของเว็บเพจ โปรแกรมเว็บเบราเซอร์แรกเป็นโปรแกรมที่สั่งโดยใช้ข้อความ และแสดงผลในรูปของข้อความเท่านั้น ต่อมาได้สร้างโปรแกรมรูปแบบกราฟิก เป็นโปรแกรมที่สามารถแสดงเอกสารที่อยู่ในลักษณะของข้อความและภาพกราฟิกได้ เช่น โปรแกรม Microsoft Internet Explorer , Netscape Navigator

บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต 
1. ไปรษรีย์อิเล็กทรอนิกส์ เรียกกันโดยทั่วไปว่าอีเมล ซึ่งเป็นการรับ-ส่งจดหมายหรือข้อความถึงกันได้ทั่วโลก
2. การสนทนาออนไลน์ ผู้ใช้สามารถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่นๆได้ในเวลาเดียวกัน สามารถใช้ภาพกราฟิก การ์ตูน หรือภาพเคลื่อนไหวต่างๆแทนตัวผู้สนทนาได้
3. เทลเน็ต เป็นบริการที่ให้ผู้ใช้บริการที่ตั้งอยู่ระยะไกล โดยจะใช้การจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้งานอยู่ให้เป็นจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล การทำงานจะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย 4. การขนถ่ายไฟล์ เรียกสั้นๆว่า เอฟทีพี เป็นบริการที่ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ทางอินเตอร์เน็ต

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( E-Commerce) 

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การทำธุรกรรมทุกรูปแบบผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โทรทัศน์ และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
1. ธุรกิจแบบบริคและมอร์ต้า เป็นธุรกิจแบบดั้งเดิมที่มีสถานที่จำหน่าย แต่จะไม่มีการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
2. ธุรกิจแบบคลิกและมอร์ต้า เป็นธุรกิจแบบที่มีสถานที่จำหน่าย และมีเว็บไซต์ที่นำเสนอสินค้า
3. ธุรกิจแบบคลิกและคลิก เป็นธุรกิจไม่มีสถานที่หรือร้านค้าเพื่อจำหน่ายสินค้า มีเพียงเว็บไซต์เท่านั้น


รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1. ธุรกิจกับธุรกิจ B2B มุ่งเน้นให้บริการกับลูกค้าที่เป็นองค์การธุรกิจด้วยกัน
2. ธุรกิจกับลูกค้า B2C เป็นการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การธุรกิจกับลูกค้า 3. ธุรกิจกับภาครัฐ B2G เป็นการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การธุรกิจกับภาครัฐ
4. ลูกค้ากับลูกค้า C2C เป็นการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้บริโภคด้วยกัน
5. ภาครัฐกับประชาชน G2C เป็นการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างภาครัฐกับประชาชน ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า แต่เป็นนโยบายหนึ่งของรัฐ


โครงสร้างระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 
มีหน้าร้าน ระบบตะกร้ารับคำสั่งซื้อ ระบบการชำระเงิน ระบบสมัครสมาชิก ระบบการขนส่ง และระบบติดตามคำสั่งซื้อ ในด้านของกระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ก็มีดังนี้ การค้นหาข้อมูล การสั่งซื้อสินค้า การชำระเงิน การส่งมอบสินค้าและการให้บริการหลังการขาย

เอกสารอ้างอิง
https://sites.google.com/site/vgcgghhj/home/bth-thi-5

สอบเก็บคะแนน บทที่ 4


สอบเก็บคะแนน

1. จงอธิบายลักษณะการส่งและรับสัญญาณจากผู้ส่งไปยังผู้รับ
    ตอบ   วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อ ถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้นกลับมาให้อยู่ใน รูปที่มนุษย์สามารถที่จะ เข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้ นก็คือสิ่งรบกวน(Noise)จากภายนอก ท าให้ ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางใน การส่งยิ่งมากก็อาจจะท าให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวนเหล่านี้ โดย การพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะท าให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด 


2. ลักษณะการส่งข้อมูลสามารถแบ่งการส่งข้อมูลออกตามลักษณะได้กี่แบบอะไรบ้าง
 ตอบ  1. การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission) 
จะใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ท าให้ดูเหมือนว่าบิตต่าง ๆ เรียง ต่อเนื่องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง
          2. การส่งแบบขนาน (parallel transmission)
การส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา โดยการส่งจะรวม บิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิตเข้าเป็นกลุ่ม


3. จงบอกวิธีการเข้ารหัสข้อมูล data code อย่างน้อย 3 อย่าง
          ตอบ
1. Half duplex : สามารถส่งได้ทั้งสองทาง แต่ไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกันในช่องทางเดียวกัน คือเมื่อผู้ส่งส่งข้อมูลให้ผู้รับ ผู้รับสามารถส่งข้อมูลกลับมาให้ผู้ส่งในช่องทางเดียวกันได้แต่ต้องทำคนละเวลา เช่น วิทยุสื่อสารของทหาร
2. Full duplex : สามารถส่งพร้อม ๆ กันทั้งสองทางได้ คือ เมื่อผู้ส่งส่งข้อมูลให้ผู้รับ ผู้รับสามารถส่งข้อมูลกลับมาให้ผู้ส่งในช่องทางเดียวกันในเวลาเดียวกันได้ เช่นการสื่อสารทางโทรศัพท์
3. Echo plex : เป็นการสื่อสารแบบสะท้อนกลับ เช่น การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายไปยัง Server ข้อมูลที่ส่งจะสะท้อนออกทางหน้าจอ
 4. จงบอกความแตกต่างของการส่งสัญญาณแบบอนาลอก และสัญญาณดิจิตอล
          ตอบ     สัญญาณอนาลอก  สัญญาณที่มีความต่อเนื่องกันตลอดเวลา โดยสัญญาณนี้จะอยู่ในรูปของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ เปลี่ยนไปมาอย่างต่อเนื่อง การก าหนดลักษณะของสัญญาณจะก าหนดเป็นขนาดหรือแอมปลิจูด (Amplitude) กับ ค่าความถี่ (Frequency)
สัญญาณดิจิตอล
                สัญญาณที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง ลักษณะของสัญญาณนี้จะมีอยู่สองระดับถูกแทนเป็นระดับสัญญาณ สูง หรือลอจิกสูง กับระดับสัญญาณต่ า หรือลอจิกต่ า

สรุปบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์

บทที่ 4 
การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์




ข้อมูล
คือ สิ่งที่มีความหมายในตัว โดยข้อมูลทั่วไปที่ใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์ จะเป็นข้อมูลชนิด ตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิ่ง รวมถึงภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ในการส่งข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด ผ่านสายสื่อสารหรือคลื่นวิทยุ ข้อมูลที่ต้องการส่งจะต้อง ได้รับการแปลงให้อยู่ในรูปแบบของสัญญาณที่เหมาะสมกับระบบการสื่อสารนั้นก่อน

สัญญาณ Signal
อุปกรณ์ที่ท าการสื่อสารข้อมูลกันเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า ดังนั้นลักษณะของข้อมูลต้องเป็นสัญญาณ ทางไฟฟ้าด้วย โดยสัญญาณทางไฟฟ้า ประกอบไปด้วย
     1.สัญญาณอนาลอก
           สัญญาณที่มีความต่อเนื่องกันตลอดเวลา โดยสัญญาณนี้จะอยู่ในรูปของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ เปลี่ยนไปมาอย่างต่อเนื่อง การก าหนดลักษณะของสัญญาณจะก าหนดเป็นขนาดหรือแอมปลิจูด (Amplitude) กับ ค่าความถี่ (Frequency)
    2.สัญญาณดิจิตอล
          สัญญาณที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง ลักษณะของสัญญาณนี้จะมีอยู่สองระดับถูกแทนเป็นระดับสัญญาณ สูง หรือลอจิกสูง กับระดับสัญญาณต่ า หรือลอจิกต่ า






  
รหัสแทนข้อมูล data code
          การเก็บข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์นั้นจะถูกเก็บอยู่ในรูปของเลขฐานสอง ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข หรือตัวอักษร ข้อมูลต่างๆ จะถูกเก็บอยู่ในรูปรหัสเลขฐานสองที่แทนด้วยค่า “0” และค่า “1” ทั้งสิ้น โดยระบบจะน าค่าลอจิก “0” และ “1” เหล่านี้มาจัดกลุ่มกัน เรียกว่า รหัสแทนข้อมูล 

รหัสแอสกี (ASCII Code)
 รหัสแทนด้วยตัวอักษรแบบแอสกี (American Standard Code for Information Interchange; ASCII)
  เป็นรหัสแทนข้อมูลที่มีการใช้แพร่หลายกันมากที่สุด เช่น ในไมโครคอมพิวเตอร์IBM และ IBM คอมแพทิเบิล รหัสแอสกีเป็นมาตรฐานที่ก าหนดขึ้ นโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (American National Standards Institute; ANSI) 
 ประกอบด้วยรหัส 7 บิตและเพิ่มอีก 1 บิต เรียกว่า แพริตี้บิต รวมเท่ากับ 8 บิต ต่อหนึ่งอักขระ ซึ่งแต่ละบิตจะแทนด้วยเลข "0" และ "1" 

รหัสเอ็บซีดิก (EBCIDIC) 
 (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code; EBCDIC) เป็น รหัสแทนข้อมูลที่ได้รับการพัฒนาขึ้ นมาใช้งานส าหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ซึ่งพัฒนาขึ้ น โดยบริษัทไอบีเอ็มโดยเฉพาะ
  รหัสเอ็บซีดิกนี้ มีขนาด 8 บิต เพื่อแทนสัญลักษณ์หนึ่งตัว ดังนั้นจึงสามารถใช้แทนอักขระได้ 28 หรือ 256 ตัว หรือสองเท่าของรหัสแอสกี 
 รหัสเอ็บซีดิกถือว่าเป็นรหัสมาตรฐานในการใช้แทนอักขระของเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ใช้ ในปัจจุบัน 

รหัสยูนิโค้ด (UNICODE)
 ยูนิโค้ด (UNICODE) ได้รับการพัฒนาขึ้ นมาเมื่อ พ.ศ. 2536 เพื่อแก้ปัญหาที่เกิด ข ้ ึ นกบ ั รหส ั แบบแรก 
 โดยการก าหนดให้หนึ่งตัวอักษรมีขนาด 16 บิตแทน 8 บิตตามแบบเก่าจึงสามารถใช้ แทนตัวอักษรได้มากถึง 65,536 แบบ
  ตัวอักษร 128 ตัวแรกจะเหมือนกันกับตัวอักษรในรหัสแอสกีรุ่นเก่า นอกจากน ้ ี ม ี ตัวอักษรจีน 2,000 ตัว ตัวอักษรญี่ปุ่ น เกาหลี รัสเซีย ฮิบรูกรีก สันสกฤต และอื่น ๆ รวมทั้งสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สัญลักษณ์พิเศษอีกมากมาย

การส่งข้อมูล(Data transmission)
กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิด ความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน 

พื้นฐานของการส่งข้อมูล
 ในทางคอมพิวเตอร์การส่งข้อมูล หมายถึงการส่งชุดข้อมูลเป็นแบบบิต (bit) ที่มีแต่ตัวเลข 0 กับ 1 หรือเป็นไบต์ (byte) ที่เป็นตัวอักษรโดย 8 บิต มีค่าเป็น 1 ไบต์ จากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่งซึ่ง การส่งข้อมูลในทางคอมพิวเตอร์เราสามารถใช้ตัวกลางในการส่งข้อมูลได้หลากหลายชนิด เทคโนโลย

วิธีการส่งข้อมูล
วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อ ถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้นกลับมาให้อยู่ใน รูปที่มนุษย์สามารถที่จะ เข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้ นก็คือสิ่งรบกวน(Noise)จากภายนอก ท าให้ ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง

ลักษณะการส่งข้อมูล
สามารถแบ่งการส่งข้อมูลออกตามลักษณะการส่งข้อมูลได้ 2 ชนิด 
1. การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission) 
       จะใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ท าให้ดูเหมือนว่าบิตต่าง ๆ เรียง ต่อเนื่องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง
2. การส่งแบบขนาน (parallel transmission)
        การส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา โดยการส่งจะรวม บิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิตเข้าเป็นกลุ่ม 

วิธีการส่งข้อมูล
สามารถแบ่งการส่งข้อมูลออกเป็น 2 วิธี ดังนี้ 
1. การส่งข้อมูลแบบอะซิงโครนัส (asynchronous transmission)
        การสื่อสารแบบอซิงโครนัสนั ้นจะใช้สายสัญญาณเพียงตัวเดียวแต่จะใช้รูปแบบการส่งข้อมูล หรือ Bit Pattern เป็นตัวกําหนดว่าส่วนไหนเป็นตัวเริ่มต้นข้อมูล ส่วนไหนเป็นตัวข้อมูล ส่วนไหนจะ เป็นตัวตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และส่วนไหนเป็นส่วนปิดท้ายของข้อมูล โดยต้องกําหนดให้ สญั ญาณนาฬ ิ กาเทา่ กนั ทงั้ ภาครับและภาคสง่ ซง ึ่ จะม ี อป ุ กรณ ์ พ ิ เศษ คอยควบคม ุ การรับและการส่ง ข้อมูล
 2. การส่งข้อมูลแบบซิงโครนัส (synchronous transmission)
          การส ื่อสารแบบซ ิ งโครนสัน ี จ ้ ะใช ้สญั ญาณนาฬ ิ กาควบคม ุ การรับสง่ สญั ญาณ เช่น สายคีย์บอร์ด คอมพ ิ วเตอร ์โดยจะม ี สายสญั ญาณเส้ นหนง ึ่ เป็ นสายสญั ญาณนาฬ ิ กา สว่ นอ ี กเส้ นหนง ึ่ เป็นสายของ ข้อมูล( และมักจะมีสาย กราวน์ด้วย) สําหรับการสื่อสารแบบซิงโครนัสนี ้เหมาะสําหรับการทํางานใน ระยะใกล้ข้อมูลที่จะส่งมีไม่มากนัก เพราะถ้าระยะทางไกลขึ ้นจะทําให ้สญั ญาณนาฬ ิ กามีปัญหา อีก ทั ้ง ต้องมีสายหลายเส้นทําให้สิ ้นเปลืองมาก
   
สรุป
การส่งข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่อง หนึ่ง ข้อมูลที่ส่งจะอยู่ในรูปของสัญญาณทางไฟฟ้า ไม่ได้อยู่ในรูป ของตัวอักษรที่อ่านได้ โดยการส่งข้อมูลมีทั ้งการส่งข้อมูลแบบขนาน และการส่งข้อมูลแบบอนุกรม

เอกสารอ้างอิง
https://sites.google.com/site/kruwerapangree/thekhnoloyi-sarsnthes-m-2-ng22202/--hnwy-thi-2-kar-suxsar-khxmul-laea-kherux-khay-khxmphiwtexr


วันพฤหัสบดีที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561

กรณีศึกษา การใช้พีดีเอในร้านขายก๋วยเตี๋ยว

กรณีศึกษา: การใช้พีดีเอในร้านขายก๋วยเตี๋ยว

1.  ประโยชน์ที่จะได้จากการนำพีดีเอ มาใช้ในธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวมีอะไรบ้าง

( 1). ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
พนักงานสามารถรับรายการอาหารได้อย่างรวดเร็ว
ทำให้การปฏิบัติงานของพนักงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งด้านการ บริหารที่รวดเร็วและการช่วยลดขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
- การจัดเก็บข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ โดยเมื่อมีการรับรายการอาหารข้อมูลเหล่านั้นก็จะถูกบันทึกในฐานข้อมูลของร้าน จึงทำให้สามารถตรวจสอบข้อมูลภายหลังได้ และทำให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ
เมื่อนำพีดีเอเข้ามาช่วยทำให้ระบบการทำงานมีประสิทธิภาพเจ้าของร้านจึงสามารถทำบัญชี และสรุปยอดขายได้ง่าย
( 2.) ช่วยสร้างทางเลือกในการแข่งขัน
จากประสิทธิภาพการทำงานที่ดีขึ้นทำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจในการบริการและสามารถดึงดูดลูกค้าให้หันมาใช้บริการเพิ่มมาก
-ร้านก๋วยเตี๋ยว ได้พัฒนาการบริการโดยการนำเครื่อง PDA เข้ามาช่วยในการรับรายการอาหาร ทำให้การบริการรวดเร็วขึ้น ลูกค้าได้รับอาหารที่ถูกต้องแม่นยำ
( 3.) ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ
เนื่องจากข้อมูลสารสนเทศที่ได้มีประสิทธิ น่าเชื่อถือ เจ้าของร้านสามารถนำข้อมูลสารสนเทศนั้นไปใช้ในการตัดสินใจด้านต่างๆ เช่น
- เพิ่มยอดขาย
- ขยายสาขา
- หรือแม้แต่การปรับเงินเดือนพนักงานด้วย
( 4.ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต
ทำให้ลูกค้ามีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นเพราะลูกค้าไม่ต้องใช้เวลาในการรออาหารนานเกินไป
เมื่อลูกค้าเกิดความพึงพอใจในการบริการแล้ว พนักงานก็จะได้รับคำชมจากลูกค้า ทำให้พนักงานเกิดความรู้สึกดีและอยากใช้บริการในโอกาสต่อไป
ทำให้เจ้าของร้านเกิดความภาคภูมิใจที่ลูกค้าให้ความไว้วางใจและพนักงานก็ให้ความเคารพนับถือแล้วก็ปฏิบัติงานอย่างเต็มประสิทธิภาพ

2.  ท่านคิดว่ามีข้อจำกัดหรือปัญหาอะไรบ้างในการนำเทคโนโลยีพีดีเอมาใช้ในธุรกิจนี้
ปัญหาในด้านของการฝึกอบรม เนื่องจากการนำเครื่องพีดีเอมาใช้งาน จำเป็นต้องมีการฝึกอบรมพนักงานให้มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องพีดีเอก่อนเพราะถ้าหากไม่มีการอบรมก่อนอาจจะทำให้เกิดขอผิดพลาดในการทำงานได้
ข้อจำกัดในด้านของเงินทุน เนื่องจาก เครื่องพีดีเอในปัจจุบันยังมีราคาค่อนข้างสูง และจำเป็นจะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการรับ ส่งขอมูล จึงทำให้ธุรกิจต่างๆที่จะนำ เครื่องพีดีเอมาใช้ในการประกอบการนั้นอาจจะมีเงินทุนไม่เพียงพอ
3. ธุรกิจใดบ้างที่สามารถนำแนวคิดนี้ไปประยุกต์ใช้ จงอธิบาย
- ร้านขายกาแฟ
- ร้านไอศกรีม
- ร้านอาหารตามสั่ง
สาเหตุเพราะว่า ลักษณะของบริการคล้ายๆ กับร้านก๋วยเตี๋ยว แต่แตกต่างกันตรงผลิตภัณฑ์สินค้าเท่านั้นเองที่ไม่เหมือนกัน ซึ่งถ้าจะมองโดยรวมๆ ก็คือสามารถนำมาดัดแปลงบางส่วนของรายการสินค้า แล้วก็ในเรื่องของราคา หรือในรายละเอียดส่วนอื่นๆ บางส่วนที่ไม่เหมือนกัน ก็คิดว่าสามารถทำได้  อีกทั้งยังช่วยเพิ่มศักยภาพในการบริหารร้านได้เป็นอย่างดีอีกด้วย

แบบฝึกหัดบทที่ 3

1. จงเรียงลำดับชั้นโครงสร้างข้อมูลจากเล็กไปหาใหญ่
ตอบ  
-เขตข้อมูล(Field) เป็นการน าข้อมูลหลายอักขระมารวมกันเป็นค าเพื่อให้เกิด ความหมาย เช่น ชื่อพนักงาน และเงินเดือนพนักงาน เป็นต้น
-ระเบียนข้อมูล(Record)กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ถูกน ามาไว้รวมกัน เช่น ระเบียนข้อมูลของพนักงาน ประกอบด้วยเขตข้อมูล รหัสพนักงาน ซื่อ-สกุล เงินเดือนและแผนก เป็นต้น
-ไฟล์(File )กลุ่มของระเบียนข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันถูกน ามาจัดเก็บไว้ด้วยกัน เช่น ไฟล์ประวัติพนักงาน ประกอบด้วยระเบียนข้อมูลของพนักงานทั้งหมดในองค์การ เป็นต้น


2. DBMS หมายถึง
ตอบ  
 DBMS. ย่อมาจาก data base management system (แปลว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้ หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย


3. จงยกตัวอย่างการใช้ฐานข้อมูลในงานธุรกิจ
ตอบ
1. ฐานข้อมูลในโรงเรียน จะเป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน ครู ภารโรง พัสดุ    สิ่งของ ฯลฯ อาจบันทึกข้อมูลลงกระดาษ แบบฟอร์มหรือจัดเก็บลงคอมพิวเตอร์ เมื่อมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็น ระเบียบ การค้นหาก็ทำได้ง่าย

2. ฐานข้อมูลของร้านค้า เมื่อมีการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและลูกค้าอย่างเป็นระบบดีแล้ว การ จัดการก็ง่าย สินค้ามีกี่รายการ ต้นทุน กำไรเท่าไร ก็ดูได้ทันที ในโลกธุรกิจ การมีข้อมูลจำนวนมากและมี การจัดการที่ดี มีผลต่อความได้เปรียบในการทำธุรกิจและการประสบความสำเร็จ


 4. รูปแบบของฐานข้อมูลแบ่งเป็นกี่รูปแบบ อะไรบ้าง
ตอบ   
1. แบบจำลองฐานข้อมูลล าดับชั้น (Hierarchical Database Model)
2. แบบจำลองฐานข้อมูลเครือข่าย (Network Database Model)
3. แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model)

 5. จงบอกปัญหาที่เกี่ยวกับการจัดการแฟ้มข้อมูล
ตอบ
1. ความซ้ าซอนของข้อมูล(Data Redundancy)
2. ความผูกพันระหว่างข้อมูลและโปรแกรม (Program-Data Dependence)
3. การไม่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ (Lack of Data Sharing)
4. การขาดความคล่องตัว (Lack of Flexvility )
5. การขาดระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี (Poor Security)

สรุปบทที่ 3 ฐานข้อมูล และคลังข้อมูล

บทที่ 3 ฐานข้อมูล และคลังข้อมูล

โครงสร้างข้อมูล
      โครงสร้างข้อมูลมีรูปแบบเป็นลำดับขั้นโดยเริ่มด้วยหน่วยที่เล็กที่สุดคือ บิต (Bit) ไบต์ (Byte)เขตข้อมูล(Field) ระเบียนข้อมูล(Record) ไฟล์(File ) ตามลำดับ
 บิต (Bit)เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลที่จัดเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย เลขฐานสองซึ่งมีสถานะเป็น 0 กับ 1
ไบต์(Byte) ประกอบด้วยบิตหลายๆ บิตมาเรียงต่อกัน เช่น 8 บิตมาเรียงต่อกันเป็น ไบต์ทำให้สามารถสร้างรหัสแทนข้อมูลเพื่อใช้แทนอักขระ ซึ่งอาจเป็นต้วเอล ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์ได้ทั้งหมด 2 8 ตัวหรือเท่ากับ 256 ตัว
เขตข้อมูล(Field) เป็นการน าข้อมูลหลายอักขระมารวมกันเป็นค าเพื่อให้เกิด ความหมาย เช่น ชื่อพนักงาน และเงินเดือนพนักงาน เป็นต้น
ระเบียนข้อมูล(Record)กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ถูกน ามาไว้รวมกัน เช่น ระเบียนข้อมูลของพนักงาน ประกอบด้วยเขตข้อมูล รหัสพนักงาน ซื่อ-สกุล เงินเดือนและแผนก เป็นต้น
ไฟล์(File )กลุ่มของระเบียนข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันถูกน ามาจัดเก็บไว้ด้วยกัน เช่น ไฟล์ประวัติพนักงาน ประกอบด้วยระเบียนข้อมูลของพนักงานทั้งหมดในองค์การ เป็นต้น

ปัญหาเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล 
1. ความซ้ าซอนของข้อมูล(Data Redundancy)
2. ความผูกพันระหว่างข้อมูลและโปรแกรม (Program-Data Dependence)
3. การไม่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ (Lack of Data Sharing)
4. การขาดความคล่องตัว (Lack of Flexvility )
5. การขาดระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี (Poor Security)

แนวทางในการใช้ฐานข้อมูลในการบริหารจัดการข้อมูล
1. ลดความซ้ าซ้อนของข้อมูล(Minimum Redundancy)  
2. มีความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)
3. สนับสนุนการใช้ข้อมูลร่วมกัน (Improved Data Sharing)
4. มีความคล่องตัวในการใช้งาน(Improved Flexibility)
5. มีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสูง (High Degree of Data Integrity)

ปัญหาเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล 
ระบบฐานข้อมูลประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 4 ส่วน คือ ข้อมูล (Data) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟแวร์ (Software) และผู้ใช้ (Users)
1. ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อมูลและความสัมพันธ์ของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูล
2. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripherals)
3. ซอฟแวร์ (Software)ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ (Operating Systems)และระบบจัดการข้อมูล (Database Management Systeme : DBMS) รวมทั้งโปรแกรมยูทิลิตี้ต่าง ๆ
4. ผู้ใช้ (Users)ได้แก่ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล เช่น ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysts) ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ (Programmers)และผู้ใช้งาน (End Users) เป็นต้น

ระบบจัดการฐานข้อมูล ( Database Management System) หรือที่เรียกว่า ดีบีเอ็มเอส (DBMS)
      คือ ซอฟต์แวร์ส าหรับบริหารและจัดการฐานข้อมูล เปรียบเสมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้ และโปรแกรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล ซึ่งมีหน้าที่ช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวกและมประสิทธิภาพ การเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ อาจเป็นการสร้างฐานข้อมูล การแก้ไข ฐานข้อมูล หรือการตั้งค าถามเพื่อให้ได้ข้อมูลมาโดยผู้ใช้ไม่จ าเป็นต้องรับรู้เกี่ยวกับรายละเอียด ภายในโครงสร้างของฐานข้อมูล เปรียบเสมือนเป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมต่าง ๆ

รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Model)

1. แบบจำลองฐานข้อมูลล าดับชั้น (Hierarchical Database Model)



2. แบบจำลองฐานข้อมูลเครือข่าย (Network Database Model)


3. แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model)


ดาต้าไมนิ่ง (Data Mining) 
     ดาต้าไมนิ่ง เป็นเครื่องมือและเทคนิคในการสกัด (Extract) ข้อมูลและประมวลผลข้อมูลในเชิง วิเคราะห์ขั้นสูงจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ โดยสามารถค้นหารูปแบบ แนวโน้ม พฤติกรรมและความสัมพันธ์ที่ ซ่อนอยู่ภายในข้อมูลเพื่อนให้ได้ความรู้ใหม่หรือค าตอบในลักษณะสิ่งต่อไปนี้
 1. ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง (Association)
 2. ลำดับของข้อมูล (Sequence)
 3. การหากฎเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม (Classification)
 4. การจัดกลุ่มของความคล้ายคลึง (Cluster)
 5. การพยากรณ์(Forecasting)

ตาราง : แสดงการประยุกต์ใช้ดาต้าไมนิ่งกับธุรกิจประเภทต่างๆ


สรุป
       คลังข้อมูล (Data Warehouse) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลของระบบงาน ปฏิบัติงานประจำวันขององค์กรแล้วน ามาแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมในการจัดเก็บ และสะดวกในการใช้งานแล้วจึงน าข้อมูลนั้นเข้าไปเก็บในคลังข้อมูล(Data Warehouse) การ พัฒนาหรือสร้างคลังข้อมูลมาใช้ในองค์กรจะต้องมีการพิจารณาถึงองค์ประกอบที่จ าเป็นในการ สร้างให้เหมาะสมด้วยทั้งนี้เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการลงทุนและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร


อ้างอิงแหล่งที่มา
https://www.slideshare.net/PopJaturong/01-60153331

วันพุธที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2561

แบบฝึกหัดบทที่ 2

1. ประเภทของคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

 ตอบ  โดยทั่วไปนิยมจ ำแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7 ประเภท
1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการท างานสูงสุด มีราคาสูง มาก สามารถประมวลผลได้ถึงพันล้านค าสั่งต่อวินาที ปัจจุบันมีการน าไปใช้กับงานออกแบบชิ้นส่วนรถ งาน วิเคราะห์สินค้าคงคลัง การออกแบบงานด้านศิลปะ

2. คอมพิวเตอร์เมนเฟรมหรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe Computer) มี ประสิทธิภาพรองจาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการท างานจากผู้ใช้ได้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน นิยมใช้กับองค์การ ขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้จ านวนมากในเวลา เดียวกัน เช่น ธนาคาร การจองตั๋วเครื่องบิน การ ลงทะเบียน บริษัทประกัน
3.มินิคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ขนำดกลำง (Minicomputer) หรือเรียกว่า Mid-rang Computer/Sever มี ประสิทธิภาพด้านความเร็วน้อยกว่าเมนเฟรม สามารถรองรับการท างานจากผู้ใช้หลาย คน ตัวอย่างการใช้งานเช่น การค านวณทางด้านวิศวกรรม การจองห้องพักโรงแรม งานด้านการบัญชีของ องค์การธุรกิจ
4.คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือที่เรียกกันว่า PC (Personal Coomputer)
5. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก หรือบำงครั้งเรียกว่ำ แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นคอมฯ ที่ มีขนาดเล็ก บาง และน าหนักเบา เหมาะแก่การพกพา ใช้กับไฟฟ้ามาตรฐานทั่วไป และแบตเตอร์
6. Hand-held Personal Computer หรือ Palmtop Computer เป็นคอมฯ ที่มีขนาดเล็กที่สุด หรือที่ เรียกกันว่า PDA (Personal Digital Assistant)
7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer) นิยมน ามาใช้ท างานเฉพาะด้าน เช่น เครื่องเล่นเกม ระบบเติมน้ ามันอัตโนมัติ โทรศัพท์มือถือ ตู้ร้องคาราโอเกะ
2. จงบอกขั้นตอนการทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์
 ตอบ มีขั้นตอนการท างานพื้นฐาน 4 ขั้นตอน ซึ่งประกอบด้วย การรับข้อมูล การประมวลผล การแสดงผล และการจัดเก็บข้อมูล หรือที่เรียกย่อๆ ว่า IPOS Cycle (Input Process Output Storage Cycle)
1. รับข้อมูล (Input) อุปกรณ์ที่ท าหน้าที่รับข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น เมาส์ Mouse สแกนเนอร์ (Scanner) ไมโครโฟน (Microphone) และกล้องดิจิทัล (Digital Camera) เป็นต้น
2. ประมวลผล (Process) เช่น การคำนวณ ภาษี ค านวณเกรดเฉลี่ย
3. แสดงผล (Output) การที่ได้จากการประมวลผลไปยังหน่วยแสดงผล ซึ่งอุปกรณ์ได้แก่ จอภาพ
ลำโพง เครื่องพิมพ์
 4. จัดเก็บข้อมูล (Storage) คือการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดีรอม


3. จงยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับข้อมูล 5 ประเภท
ตอบ 1. แป้นพิมพ์(Keyboard)  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลที่สามารถพิมพ์หรือเคาะได้ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร
2. เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์สำหรับรับข้อมูลจากการชี้ตำแหน่งบนจอภาพ
3  แทร็กบอล(Track Ball) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล โดยการชี้และเลือกข้อมูลผ่านทางจอภาพเช่นเดียวกับเมาส์แต่  แทร็กบอลจะเลื่อนตัวชี้โดยการหมุนลูกบอลที่อยู่ด้านบน
4.  จอยสติก  (Joy Stick)  เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลมีลักษณะเป็นคันโยกขึ้นลง  ซ้ายขวา  เพื่อควบคุมตำแหน่งของตัวชี้ 
5.  เครื่องอ่านบาร์โค๊ต  (Bar Code Reader)  เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลจากรหัสของเลขฐานสองที่อยู่ในรูปของรหัสแถบ (Bar Code)ซึ่งประกอบด้วยแถบสีดำและยาว ความกว้างของแถบสีดำตัวกำหนดรหัสที่แทนค่าของตัวเลข
4. จงหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับงานด้านเอกสารมา 2 รุ่น
ตอบ 1. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ

         2.คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก หรือบำงครั้งเรียกว่ำ แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์


5. จงหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับงานด้านการตัดต่อวิดีโอมา 2 รุ่น
ตอบ 1.มินิคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ขนำดกลำง
           2. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก หรือบำงครั้งเรียกว่ำ แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์

สรุปบทที่ 2 การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

บทที่ 2 
การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

วงจรการทำงานของคอมพิวเตอร์



      มีขั้นตอนการท างานพื้นฐาน 4 ขั้นตอน ซึ่งประกอบด้วย การรับข้อมูล การประมวลผล การแสดงผล และการจัดเก็บข้อมูล หรือที่เรียกย่อๆ ว่า IPOS Cycle (Input Process Output Storage Cycle) 
1. รับข้อมูล (Input) อุปกรณ์ที่ท าหน้าที่รับข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น เมาส์ Mouse สแกนเนอร์ (Scanner) ไมโครโฟน (Microphone) และกล้องดิจิทัล (Digital Camera) เป็นต้น
2. ประมวลผล (Process) เช่น การค านวณ ภาษี คำนวณเกรดเฉลี่ย
3. แสดงผล (Output) การที่ได้จากการประมวลผลไปยังหน่วยแสดงผล ซึ่งอุปกรณ์ได้แก่ จอภาพ 
ลำโพง เครื่องพิมพ์
 4. จัดเก็บข้อมูล (Storage) คือการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดีรอม

ประเภทของคอมพิวเตอร์ 
     โดยทั่วไปนิยมจำแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7 ประเภท
 1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการท างานสูงสุด มีราคาสูง มาก สามารถประมวลผลได้ถึงพันล้านค าสั่งต่อวินาที ปัจจุบันมีการน าไปใช้กับงานออกแบบชิ้นส่วนรถ งาน วิเคราะห์สินค้าคงคลัง การออกแบบงานด้านศิลปะ
  



2. คอมพิวเตอร์เมนเฟรมหรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe Computer) มี ประสิทธิภาพรองจาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการท างานจากผู้ใช้ได้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน นิยมใช้กับองค์การ ขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้จ านวนมากในเวลา เดียวกัน เช่น ธนาคาร การจองตั๋วเครื่องบิน การ ลงทะเบียน บริษัทประกัน
3.มินิคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ขนำดกลำง (Minicomputer) หรือเรียกว่า Mid-rang Computer/Sever มี ประสิทธิภาพด้านความเร็วน้อยกว่าเมนเฟรม สามารถรองรับการท างานจากผู้ใช้หลาย คน ตัวอย่างการใช้งานเช่น การคำนวณทางด้านวิศวกรรม การจองห้องพักโรงแรม งานด้านการบัญชีของ องค์การธุรกิจ
4.คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือที่เรียกกันว่า PC (Personal Coomputer)
5. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก หรือบำงครั้งเรียกว่ำ แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นคอมฯ ที่ มีขนาดเล็ก บาง และน าหนักเบา เหมาะแก่การพกพา ใช้กับไฟฟ้ามาตรฐานทั่วไป และแบตเตอร์

6. Hand-held Personal Computer หรือ Palmtop Computer เป็นคอมฯ ที่มีขนาดเล็กที่สุด หรือที่ เรียกกันว่า PDA (Personal Digital Assistant)

7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer) นิยมนำมาใช้ท างานเฉพาะด้าน เช่น เครื่องเล่นเกม ระบบเติมน้ ามันอัตโนมัติ โทรศัพท์มือถือ ตู้ร้องคาราโอเกะ


เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์(Hardware) 
       โดยทั่วไปหมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบหลัก 6 ส่วนคือ 
1. อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) เป็นอุปกรณ์ซึ่งท าหน้าที่รับข้อมมูลเข้าเพื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถ ประมวลผลได้

2.หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือ ซีพียู (CPU)เป็น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ประกอบด้วยส่วนใหญ่ ๆ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจ า ของซีพียู ควบคุมกลไกการท างาน ทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดย มีสัญญาณนาฬิกา เป็นตัวก าหนดจังหวะการท างาน หน่วยค ำนวณและ ตรรกะ เป็นหน่วยที่มีหน้าที่น าเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผล ทาง คณิตศาสตร์ และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ และ การสลับตัวเลข เป็นต้นการค านวณท าได้เร็วตามจังหวะการควบคุม ของหน่วยควบคุม

เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์(Hardware) 
     หน่วยความจำหลัก (Main Memory) เป็น ชิบหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้บันทึกโปรแกรมหรือข้อมูล หน่วยความจำหลักจะ บรรจุอยู่บนแผงวงจรหรือเรียกว่าเมนบอร์ด หน่วยความจ าจะใช้หน่วยเป็น ไบต์ กิโลไบต์ กิกะไบต์ หน่วยความจ ามี 3 ประเภท คือ 
- หน่วยความจำแรม เป็นอุปกรณ์หรือแผงวงจรที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หน่วยความจ าแรมบางครั้งเรียกว่าหน่วยความจ าชั่วคราว (Volatile Memory) 
-หน่วยความจำรอม เป็นหน่วยความจ าที่บันทึกข้อสนเทศและค าสั่งเริ่มต้นของระบบ คุณสมบัติเด่น ของรอมคือ ข้อมูลและค าสั่งจะไม่ถูกลบหายไปถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไม่มี กระแสไฟฟ้าหล่อ เลี้ยงแล้วก็ตาม
-อุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการ ประมวลผลข้อมูล ได้แก
-อุปกรณ์การสื่อสาร (Communication Devices)
-อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรอง (Storage Devices) ใช้ส าหรับจัดเก็บโปรแกรมและข้อมูลเพื่อใช้ ในการประมวลผลโดยสามารถจัดเก็บไว้ได้ถึงแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงก็ตาม

การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ให้เหมาะสมต่อการใช้งานในองค์การมี ความส าคัญต่อ ประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ ผู้บริหารจึงมีบทบาทส าคัญยิ่งในการ จัดการทรัพยากรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ให้ เกิดการใช้งานให้ได้ประโยชน์สูงสุด ซึ่ง ในการจัดการกับทรัพยากรไอทีด้านฮาร์ดแวร์นั้นมีประเด็นในการพิจารณาดัง นี้ 
1. จัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกับความจ าเป็นและการแข่งขันของธุรกิจ 
2. กำหนดมาตรฐานในการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรฮาร์ดแวร์ 
3. จัดทำระบบข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์

เทคโนโลยีซอฟต์แวร






อ้างอิงแหล่งที่มา
https://www.google.co.th/search?q=การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์+ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

แบบฝึกหัด บทที่10 เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้

แบบฝึกหัด บทที่10   เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้ 1. สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับเนื้อหา 1 หน้ากระดาษรายงานเพื่อเตรียมตัวสอบ         - ก...